มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - หยุดใจเป็น สำเร็จทุกอย่าง
หลังจากพุทธปรินิพพานได้ไม่กี่วัน พระมหากัสสปเถระ และเหล่าภิกษุสงฆ์ ได้มีความคิดเห็นตรงกันว่า จะสังคายนารวบรวมพระธรรมคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อให้พระพุทธศาสนาดำรงคงอยู่คู่โลกต่อไปอีกยาวนาน จึงได้ประชุมผู้รู้ที่เป็นพระอรหันต์ และจะขาดพระอานนทเถระไม่ได้โดยเด็ดขาด
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - แม้ตายก็ไม่ทิ้งธรรม
คืนนั้น มีนายพรานคนหนึ่งเห็นท่าน คิดว่าเป็นเนื้อ พุ่งหอกออกไป หอกได้ปักทะลุอก ครั้นนายพรานเห็นว่าเป็นพระ ก็ตกใจรีบเข้าไปหา พระเถระตั้งสติใจไม่เคลื่อนจากฐานที่ตั้งของใจ ท่านขอให้นายพรานชักหอกออก แล้วเอาเกลียวหญ้าอุดปากแผลไว้ แม้เลือดจะไหลไม่หยุด แต่สภาวะใจของท่านยังคงสงบนิ่งไม่กระเพื่อม ท่านตั้งใจมั่นว่าจะเอาชีวิตเป็นเดิมพัน แม้ตายจะไม่ทิ้งธรรม
ศาสดาเอกของโลก (1)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้เลิศเมื่ออุบัติขึ้นในโลก ย่อมอุบัติขึ้นเพื่อประโยชน์แก่มหาชนเป็นอันมาก เพื่อความอนุเคราะห์แก่ชาวโลก เพื่อประโยชน์สุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย...
กล้าดี...นักรบกล้าพันธุ์ตะวัน
เมื่อใดที่ใจเกิดวิตกหวั่นไหว ให้ถอยกลับไปจุดเริ่มต้นเพื่อฟังเสียงจากภายในกลางกาย แล้วใช้โยนิโสมนสิการเป็นหลักในการตัดสินใจ บวกกับความเชื่อมั่นในความดีที่จะทำนี้ เรียกว่ามีความกล้าดี
เส้นทางสู่ความเป็นพุทธะ_1
ธรรมดาของพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย แม้รู้ว่าสกลจักรวาลทั้งสิ้น เต็มด้วยถ่านเพลิงซึ่งปราศจากเปลว เกลื่อนกล่นด้วยหอก และหลาว ดารดาษไปด้วยหนามแหลม หรือเต็มด้วยน้ำปริ่มฝั่งแล้ว หากสามารถก้าวข้ามได้ จะได้ตรัสรู้ธรรมเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็ตัดสินใจที่จะทอดเท้าก้าวข้ามไป เพื่อให้ได้มาซึ่งสัพพัญญุตญาณอันประเสริฐ
พระพุทธศาสนา ศาสนาแห่งการดับทุกข์ - พุทธประวัติ
พุทธประวัติ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน
งานบวช บวชพระทางแห่งความภูมิใจ
งานบวช ประเพณีบวชพระ การบวชในปัจจุบันแตกต่างจากการบวชในอดีตอย่างไร ทำไมโบราณจึงให้บวชก่อนเบียดหรือบวชก่อนแต่งงาน อายุเท่าไร วัยไหน เหมาะสมที่จะบวชมากที่สุด จุดมุ่งหมายของการบวชคืออะไร ทุกคำถามเรื่องบวช ที่นี่มีคำตอบ
รูปนันทาเถรี
สรีระอันกรรมทำให้เป็นนครแห่งกระดูกทั้งหลาย ฉาบด้วยเนื้อและโลหิต เป็นที่ตั้งลงแห่งชรา มรณะ มานะ และการลบหลู่คุณท่าน
พระมหากัสสปเถระ (๒)
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เมื่อข้าพระองค์ถวายทานอยู่ตลอด ๗ วัน เข้าไปตั้งเมตตากายกรรม เมตตาวจีกรรม เมตตามโนกรรมอันใด ด้วยกรรมอันนี้ ข้าพระองค์ไม่ปรารถนาสมบัติอย่างอื่น ไม่ได้ปรารถนาสมบัติของท้าวสักกะจอมเทพ มารสมบัติ และพรหมสมบัติ ก็กรรมของข้าพระองค์นี้ จงเป็นไปเพื่อความเป็นเลิศแห่งภิกษุทั้งหลาย ผู้ทรงธุดงค์คุณ ๑๓ ด้วยเถิด
พระวักกลิเถระ
ชนใดแล มีศรัทธาตั้งมั่น มีฉันทะตั้งมั่นในพระรัตนตรัยโดยส่วนเดียว เลื่อมใสยิ่งแล้ว ไปเพื่อเห็นตถาคตหรือสาวกของตถาคต ภิกษุทั้งหลาย บรรดาการเห็นทั้งหลาย ที่ชนมีศรัทธาตั้งมั่น เลื่อมใสยิ่งแล้ว ไปเพื่อเห็นตถาคตหรือสาวกของตถาคตนั่น ชื่อว่าเป็นศรัทธาที่ยอดเยี่ยม ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้งหลาย